top of page

ชวนสำรวจพื้นที่ของการเรียนรู้เรื่องตาย และการเปลี่ยนผ่านของภูมิทัศน์การเรียนรู้

ความตายจะเข้าไปอยู่ในการเรียนรู้ของผู้คนในสังคมเมืองสมัยใหม่ได้อย่างไร ?



(1) การเรียนรู้เรื่องตายบนภูมิทัศน์แบบดั้งเดิม

คือการเรียนรู้ผ่านพื้นที่ของชุมชนดั้งเดิม และศาสนสถาน/สุสาน ที่อยู่ใกล้ชิดเป็นเนื้อเดียวกัน




(2) การเรียนรู้เรื่องตายบนภูมิทัศน์แบบใหม่

คือการเรียนรู้เรื่องตายผ่านพื้นที่ของกระบวนการ พื้นที่แห่งการพักผ่อนและสร้างสรรค์

เช่น พื้นที่นันทนาการ ห้างสรรพสินค้า พิพิธภัณฑ์ ร้านบอร์ดเกม


การปะปน ทับซ้อน และเปลี่ยนผ่านของพื้นที่การเรียนรู้เรื่องตาย


เมืองประกอบไปด้วยพื้นที่เก่า พื้นที่ปะปน และพื้นที่ใหม่ในการเรียนรู้ความตาย


ที่น่าสนใจคือ การเปลี่ยนผ่านภูมิทัศน์ดังกล่าวชี้ให้เห็นว่ากระบวนการที่รัฐจะขับเคลื่อนการเรียนรู้เรื่องตายสามารถทำได้อยากหลากหลาย และประยุกต์ให้สอดรับกับวิถีชีวิตสมัยใหม่ของคนเมืองได้


เห็นได้จากการเรียนรู้ของพื้นที่ใหม่ เช่น ย่านอารีย์ ที่ถึงแม้ว่าจะไม่พบภาพของความเป็นชุมชนแบบดั้งเดิมที่ต้องมีวัดหรือศาสนสถานใกล้บ้าน แต่ย่านอารีย์กลับมี Death cafe แห่งเดียวในกรุงเทพตั้งอยู่





ดู 17 ครั้ง0 ความคิดเห็น
รูปภาพนักเขียนVarakorn Wimuttichai

ตำแหน่งและจำนวนฌาปนสถาน/สุสานของพุทธในกรุงเทพมหานคร


ผลิตโดย

โครงการคนเมือง 4.0: การจัดการหลังความตายในวิถีเมือง – ร่าง (ศพ) ความทรงจำบนความเหลื่อมล้ำ

X คุณอดิศักดิ์ กันทะเมืองลี้ UDDC

แผนงานคนไทย 4.0 ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

ดู 13 ครั้ง0 ความคิดเห็น
รูปภาพนักเขียนVarakorn Wimuttichai

ตำแหน่งและจำนวนสุสานคริสต์ในกรุงเทพมหานคร


ผลิตโดย

โครงการคนเมือง 4.0: การจัดการหลังความตายในวิถีเมือง – ร่าง (ศพ) ความทรงจำบนความเหลื่อมล้ำ

X คุณอดิศักดิ์ กันทะเมืองลี้ UDDC

แผนงานคนไทย 4.0 ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

ดู 7 ครั้ง0 ความคิดเห็น
1
2
bottom of page